จิต…เปรียบดั่งเข่นสระน้ำ  

ความคิด….เปรียบดั่งเช่นคลื่นในสระน้ำ

จะทำอย่างไร? ให้น้ำในสระนั้นนิ่ง..….
เมื่อน้ำในสระนิ่ง ก็จะเป็นเสมือนกระจกเงาสะท้อนสิ่งๆต่างๆ ได้แจ่มชัด….
The mind is like a pond, and thoughts are like waves on the pond.
To make a pond still what can you do?
The more you do the more you disturb it.
You can’t flatten it out or smooth it out by force, you will stir up more waves.
Simply leave it alone and it will settle down.
Leave the mind alone and eventually the mind will become like a mirror.
The moon appears when the pond is still.
Do not mistake the reflection of the moon in the still pond for the actual moon.
The primordial self is neither near of far. It is beyond stillness and movement of the mind.
Pointing directly to the human mind, see your own nature and become Buddha. Let go of all activities of the mind and senses completely . what remains?
Do not look for a thing. The primordial self is not a thing  but neither is nothing.
Once you have seen the moon, when you look back at the pond, you can recognize it in every reflection.

………………………………….

ในคืนวันเพ็ญ พระจันทร์เด่นดวงอยู่บนท้องฟ้า เมื่อน้ำในสระนิ่ง จะปรากฏเงาจันทร์ในสระน้ำ

พึงอย่าเข้าใจผิดว่าเป็นพระจันทร์ดวงจริง

หยุดพฤติ(กรรม)แห่งจิตโดยสิ้นเชิง แล้วยังจะมีอะไรเหลืออยู่อีก!

และโดยการชี้ตรงไปที่จิต เห็นธรมชาติเดิมแท้แห่งจิตตน…. จึงเป็พุทธะ

………………………………………………………………………………………..

see also :-  ตัวอย่างประกอบเรี่อง “ไม่มีน้ำ ไม่มีพระจันทร์”

นางชีจิโยโนะเรียนเซนกับอาจารย์อู่เสียะจู่เหยียน (ค.ศ.1226-1286) แห่งวัดเอ็นกะคุ เป็นเวลานานปีที่ปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัด นางไม่สามารถเข้าใจหลักเซนได้ถึงแก่นเลย

คืนหนึ่งยามจันทร์กระจ่างฟ้า นางชีตักน้ำใส่ถังไม้ไผ่เช่นทุกวัน เมื่อน้ำเต็มถัง เงาจันทร์สดสวยปรากฏบนผิวน้ำในถังไม้ แต่พลันถังไม้ไผ่รับน้ำหนักไม่ไหว ฐานล่างของถังไม้หลุดออก น้ำในถังหายไป เช่นเดียวกับจันทร์ในน้ำ ชั่วขณะนั้นมางชีก็เป็นอิสระ!

นางชีเขียนบทกวีว่า

………..ฉันพยายามรักษาถังเก่านี้เต็มที…

………..ถังไม้ไผ่เปราะบางพร้อมที่จะหัก

………..และเมื่อถังไม้หลุดออกมา

……….ไม่เหลือน้ำในถัง……ไม่มีพระจันทร์ในน้ำ

 

………พระจันทร์ไม่เปียก….น้ำไม่ถูกกินที่

 

ที่มา :จากหนังสือ “มังกรเซน” แต่งโดย…รินทร์ เลียววาริน

 

.

.

.